ศูนย์วิจัยและพัฒนาสิ่งประดิษฐ์คิดค้นทางการแพทย์

ที่ตั้งอาคารหอพักแพทย์
โทร 0-2534-7465 ,27465

 
ผลงานวิจัย
 
งานวิจัยที่กำลังทำอยู่
 
แบบฟอร์มขออนุญาตทำวิจัยฯ ของรพ.ฯ
 
ขั้นตอนในการขอทุนจากมูลนิธิคุ้มเกล้าฯ (แก้ไขวันที่18 ธ.ค.55)
 
ขั้นตอนขออนุญาตทำวิจัย ในรพ.ฯ(บุคคลทั่วไป)
 
แบบฟอร์มขออนุญาตทำวิจัย ในรพ.ฯ(บ.ยาสนับสนุน)
 
ติดต่อศูนย์วิจัย
 
htmlCode

 เข้าถึงข้อมูลการรักษาได้ง่ายขึ้นด้วย...
แอปพลิเคชัน
“BAH Connect“
ดาวน์โหลด
แอปพลิเคชัน
BAH Connect ทาง  • IOS
BAH Connect ทาง Android

สถิติการดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน CLICK  

ขอเชิญทุกท่านแสดงความคิดเห็น
ต่อการเข้ารับบริการ
รพ.ภูมิพลอดุลยเดช พอ.

..คลิก..
พบเห็นสัตว์อันตรายโทร 27191 จาก รปภ.และนิรภัยภาคพื้น รพ.ภูมิพลอดุยเดช พอ.

3 โปรแกรม JASMINE, ROSE, ORCHID
ติดต่อสอบถามเพิ่มเติมได้ที่
ห้องตรวจสุขภาพ

โทร 0-2534-7624, 2-7624

ติดต่อสอบถามได้ที่ประชาสัมพันธ์ 0-2534-7000, 0-2534-7312
วันหยุด ให้บริการคลินิกพิเศษ
นอกเวลาราชการ ประจำปี 2567
ดาวน์โหลด---> แอปพลิเคชั่น BAH Connect
บริการส่งยาทางไปรษณีย์
---> ขั้นตอน คลิก
html code 
 
หน้าที่ของคณะกรรมการศูนย์วิจัยและพัฒนาสิ่งประดิษฐ์คิดค้นทางการแพทย์

 1.  พิจารณางานวิจัยทุกเรื่องที่ดำเนินการวิจัยใน รพ.ภูมิพลอดุลยเดช ให้ถูกต้องตามหลักวิชาการ วิจัย โดยร่วมกับ คณะกรรมการ
       จริยธรรม  รพ.ภูมิพลอดุลยเดช พอ.
 2. ให้คำปรึกษาแนะนำแก่นิสิตแพทย์ แพทย์ประจำบ้าน แพทย์ พยาบาล และบุคลากรของ รพ.ภูมิพลอดุลยเดช ในด้านการวิจัยรวมถึง
      การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ
 3. จัดการฝึกอบรมด้านการวิจัยให้แก่แพทย์ประจำบ้าน แพทย์ และบุคลากรของ รพ.ภูมิพลอดุลยเดช พอ.
 4. ตัดสินงานวิจัยของแพทย์ประจำบ้านที่นำเสนอเพื่อประกวดในการประชุมวิชาการประจำปีของโรงพยาบาล ในด้านระเบียบวิธีการวิจัย
 5. ร่วมกิจกรรมทางวิชาการกับศูนย์วิจัยจากสถาบันต่าง ๆ
 6. ทำงานวิจัยทางคลินิกเพื่อพัฒนาคุณภาพด้านการรักษาพยาบาลของโรงพยาบาล
 7. จัดการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาบุคลากรทางการแพทย์ ทั้งภายในโรงพยาบาลและสถาบันการศึกษาอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมายหรือ
      ขอรับการสนับสนุนมา
 8. เป็นศูนย์รวบรวมผลงานวิจัยของแพทย์ในโรงพยาบาล
 9. กระตุ้นและสนับสนุนให้อาจารย์แพทย์มีผลงานวิจัย

 
 

ประวัติศูนย์วิจัยฯ

  พ..2534 ศูนย์วิจัยฯ เริ่มปฏิบัติงานภายใต้กองแพทยศาสตร์ศึกษา รพ.ภูมิพลอดุลยเดช พอ.
  พ.ศ.2536 น..บรรหาร กออนันตกูล เป็นประธานคณะกรรมการของศูนย์วิจัยฯ ได้ดำเนินการจัดตั้งศูนย์วิจัยฯขึ้นอย่างเป็นทางการ
             และได้รับอนุมัติให้ใช้สถานที่คือชั้น ๒ อาคารสลากกินแบ่งรัฐบาล  ตรงข้ามกองแพทยศาสตร์ศึกษา 
  พ.ศ.2539 วันที่ 30 ส.ค.มีพิธีเปิดศูนย์วิจัยฯ หลังจากนั้นมูลนิธิร็อคกี้เฟลเล่อร์ได้ให้ทุนสนับสนุนแพทย์และนักสถิติของ
โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดชให้ไปศึกษาต่อด้านระบาดวิทยาคลีนิคและสถิติทั้งที่สถาบันต่างประเทศและภายในประเทศ รวมทั้งได้สนับสนุนงบประมาณในการปรับปรุงตกแต่งสถานที่และจัดหาอุปกรณ์ที่จำเป็นให้แก่ศูนย์วิจัยฯ ซึ่งช่วยในการพัฒนาศูนย์วิจัยฯ ให้ดำเนินงานได้ก้าวหน้าเป็นลำดับ

ประธานคณะกรรมการศูนย์วิจัยฯ - อดีตถึงปัจจุบัน

..บรรหาร  กออนันตกูล         พ.ศ 2536 – 2540
..ศุภโชค  จิตรวาณิช            .. 2540 – 2542
..อภิชาต  พลอยสังวาลย์       .. 2542 – 2544
.. หญิงรุ่งทิพย์  สุขวรรณ์       .. 2544 – 2548
น.อ.สินาท  พรหมมาศ              พ.ศ. 2548 – 2552
น.อ. หญิงรุ่งทิพย์  สุขวรรณ์       พ.ศ. 2552 – ปัจจุบัน 

ปัจจุบันศูนย์วิจัยฯ มีแพทย์ที่จบการศึกษาปริญญาโทด้านระบาดวิทยาคลินิกและปริญญาเอกด้านวิทยาศาสตร์คลินิกปฏิบัติงานอยู่ จำนวน 1 คน ดังนี้

น.อ.หญิง รุ่งทิพย์  สุขวรรณ์                        กองจักษุกรรม

มีแพทย์ที่จบการศึกษาปริญญาโท ด้านระบาดวิทยาคลินิกและปฏิบัติงานอยู่ จำนวน 6 คน ดังนี้

..อภิชาต  พลอยสังวาลย์                       กองศัลยกรรรม
..หญิงนภาพร   จิระพงษา                       กองบริการโลหิต 
น.อ.รัฐโรจน์  วัฒนศิริรักษ์                          กองพยาธิกรรม
..สินาท  พรหมมาศ                               กองสูติ-นรีเวชกรรม
น.ท.หญิงปัญจฉัตร รัตนมงคล                      กองกุมารเวชกรรม
ร.อ.หญิง วรวรรณ  ชัยลิมปมนตรี                  กองอายุรกรรม
 
มีนักสถิติที่จบการศึกษาปริญญาโท ด้านระบาดวิทยาคลินิกและสถิติปฏิบัติงานอยู่
จำนวน 1 คน ดังนี้
 
น.อ.หญิง สุภาภรณ์  กฤษณีไพบูลย์  กรมแพทย์ทหารอากาศ