ข้อมูลหน่วยงาน
 
ประวัติกองทันตกรรม
 
ภารกิจ
 
โครงสร้างการบังคับบัญชา
 
รายนามบุคลากร
 
หน่วยงานในความดูแล
 
ติดต่อศูนย์ทันตกรรม
การศึกษาและฝึกอบรม
 
นิสิตแพทย์
 
แพทย์ประจำบ้าน
 
E-learning
วิจัยและวิชาการ
 
ข่าววิจัย และงานประชุมวิชาการ
 
ผลงานวิจัยและวิชาการ
พัฒนาคุณภาพ
 
โครงการที่อยู่ระหว่างการพัฒนา
 
งานพัฒนาคุณภาพ...ทำต่อเนื่อง
 
โครงการ ที่ได้ดำเนินการไปแล้ว
บริการประชาชน
 
คำแนะนำก่อนเข้ารับการตรวจรักษา
 
ตารางแพทย์ตรวจรักษาในเวลา
 
ตารางแพทย์ตรวจรักษาคลินิกพิเศษนอกเวลา
ความรู้สู่ประชาชน
 
เว็บไซต์|แหล่งข้อมูลที่น่าสนใจ
 
ทันตแพทยสภา
 
ทันตแพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
 
ราชวิทยาลัยทันตแพทย์แห่งประเทศไทย
 
Electronic Books ทันตสาธารณสุข
   ช่องทางในการรับบริการ ทางทันตกรรม

 
   clip

 
htmlCode

 เข้าถึงข้อมูลการรักษาได้ง่ายขึ้นด้วย...
แอปพลิเคชัน
“BAH Connect“
ดาวน์โหลด
แอปพลิเคชัน
BAH Connect ทาง  • IOS
BAH Connect ทาง Android

สถิติการดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน CLICK  

ขอเชิญทุกท่านแสดงความคิดเห็น
ต่อการเข้ารับบริการ
รพ.ภูมิพลอดุลยเดช พอ.

..คลิก..
พบเห็นสัตว์อันตรายโทร 27191 จาก รปภ.และนิรภัยภาคพื้น รพ.ภูมิพลอดุยเดช พอ.

3 โปรแกรม JASMINE, ROSE, ORCHID
ติดต่อสอบถามเพิ่มเติมได้ที่
ห้องตรวจสุขภาพ

โทร 0-2534-7624, 2-7624

ติดต่อสอบถามได้ที่ประชาสัมพันธ์ 0-2534-7000, 0-2534-7312
วันหยุด ให้บริการคลินิกพิเศษ
นอกเวลาราชการ ประจำปี 2567
ดาวน์โหลด---> แอปพลิเคชั่น BAH Connect
บริการส่งยาทางไปรษณีย์
---> ขั้นตอน คลิก
html code 
viewbranch
หน่วยงานรักษาพยาบาล  กองทันตกรรม    ข้อมูลหน่วยงาน  ประวัติกองทันตกรรม  
  ประวัติกองทันตกรรม   
เนื้อหา   
 

     การให้บริการทางทันตกรรมเดิมเป็นเพียงห้องทำฟันอยู่ในแผนกแพทย์ แต่เมื่อก่อตั้งขึ้นเป็นโรงพยาบาล ภูมิพลอดุลยเดช แล้วจึงเริ่มมีแผนกทันตกรรมขึ้นมาอยู่ที่อาคาร 1 หัวหน้าแผนกคนแรก คือ น.ท. ชเยศ อิศรางกูร ณ อยุธยา (พล.อ.ต.) มีฝ่ายทันตกรรมประดิษฐ์ (ใส่ฟัน) ฝ่ายทันตกรรมหัตถการ (อุดฟัน) ฝ่ายทันตศัลยกรรม (ถอนฟันธรรมดาเเละ ถอนฟันที่ขึ้นผิดปกติรวมทั้งการผ่าตัดในช่องปาก) ทันตแพทย์ทำงานรวมกันเกือบทุกอย่าง ไม่ได้แบ่งงานเป็นเฉพาะทางเหมือนในปัจจุบัน

     น.ท. ชเยศ อิศรางกูร ณ อยุธยา เป็นหัวหน้าแผนกและมีทันตแพทย์ 6 ท่านและผู้ร่วมงานอื่นๆ รวมทั้งทันตนามัย 2 คน เป็นผู้ช่วยทันตแพทย์และงานห้องปฏิบัติการในสมัยนั้นยังมีทันตนามัยทำงานช่วยเหลือทันตแพทย์ ขอบเขตการทำงานของทันตนามัย ได้แก่การถอนฟันเด็กและขูดหินปูน ซึ่งในปัจจุบันนี้ไม่มีการผลิตทันตนามัยแล้ว

     การอุดฟันในสมัยนั้น วัสดุอุดฟันที่ใช้ยังไม่มีการพัฒนามากอย่างในปัจจุบัน แม้แต่ขั้นตอนการรักษาบางอย่างก็ไม่ซับซ้อนอย่างในปัจจุบันเพราะส่วนมากจะเป็นเพียงการ อุด ถอน และใส่ฟันแบบถอดได้ยังไม่ค่อยมีการรักษารากฟัน หรือใส่ฟันแบบติดแน่น โรคเหงือกอักเสบ ก็เป็นเพียงการขูดหินปูนธรรมดายังไม่มีการผ่าตัดเหงือกหรือผ่าตัดอื่นๆมากนัก นอกจากการผ่าตัดฟันคุด หรือการผ่าตัดเปิดระบายหนองในช่องปาก

     ต่อมาโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช ได้เปลี่ยนแปลงอัตราของหน่วยต่างๆในโรงพยาบาล รวมทั้งแผนกทันตกรรม ได้ขยายเป็นกองทันตกรรม หัวหน้ากองยศนาวาอากาศเอกพิเศษเป็นผู้อำนวยการกองทันตกรรมท่านแรก คือ นาวาอากาศเอกพิเศษ ชเยศ อิศรางกูร ณ อยุธยา ที่ทำงานของกองยังคงอยู่ที่อาคาร 1

 

 

     เมื่ออาคารคุ้มเกล้าฯ สร้างเสร็จจึงได้ย้ายมาอยู่ชั้น 2 มีห้องทำงานอยู่ 12 ห้อง ห้องถ่ายภาพรังสีซึ่งสามารถถ่ายภาพรังสีฟันธรรมดาและถ่ายภาพรังสีกระดูกขากรรไกร และกะโหลกศีรษะ ห้องล้างฟิล์ม ห้องปฏิบัติการของช่างทันตกรรม (งานทำฟันปลอม) รวมทั้งหน่วยประชาสัมพันธ์ของกองทันตกรรมด้วย

     ในปี 2536 โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช ได้เปิดห้องตรวจโรคสำหรับข้าราชการกองทัพอากาศขึ้นที่ชั้นล่างอาคารสลากกินแบ่งรัฐบาล และมีห้องตรวจทางทันตกรรมด้วย จึงมีการเพิ่มเก้าอี้ทำฟันขึ้นมาอีก 2 เครื่อง เพื่อใช้ในการตรวจรักษาทางทันตกรรมให้แก่ข้าราชการกองทัพอากาศขึ้นที่อาคารดังกล่าว

     กองทันตกรรมได้ให้การรักษาทางทันตกรรมทั่วไปและยังมีทันตกรรมเฉพาะทางสาขาต่างๆเนื่องจากเริ่มมีทันตแพทย์สังกัดกองทัพอากาศจบการศึกษาทันตแพทย์เฉพาะทางในสาขาต่างๆกลับมาปฏิบัติงานเพิ่มขึ้นทุกๆปี

        ในปี 2555 อาคารคุ้มเกศฯ ได้สร้างสมบูรณ์ กองทันตกรรมจึงได้ย้ายมาปฏิบัติงานที่ชั้น3 าคารคุ้มเกศฯ ตั้งแต่ ก.ค.2555 จนถึงปัจจุบัน ซึ่งประกอบด้วย ห้องรักษาทั้งสิน 21 ห้อง องถ่ายภาพรังสี ห้องล้างและทำความสะอาดเครื่องมือทางทันตกรรมที่ได้มาตราฐาน ร้อมซึ่งการให้การบริการการรักษาทางทันตกรรมอย่างครบวงจร

จำนวนทั้งหมด  1 ย่อหน้า หน้า   [ 1 ]