ข้อมูลหน่วยงาน
 
ประวัติ พันธกิจ วิสัยทัศน์
 
ผู้บริหาร
 
รายนามบุคลากร
 
ติดต่อ
การศึกษาและฝึกอบรม
 
นิสิตแพทย์
 
แพทย์ประจำบ้าน
 
แพทย์ประจำบ้านต่อยอด
 
E-learning
วิจัยและวิชาการ
 
ข่าววิจัย และงานประชุมวิชาการ
 
ผลงานวิจัยและวิชาการ
พัฒนาคุณภาพ
บริการประชาชน
 
คำแนะนำก่อนเข้ารับการตรวจรักษา
 
ตารางแพทย์ตรวจรักษาในเวลา
 
ตารางแพทย์ตรวจรักษาคลินิกพิเศษนอกเวลา
 
ห้องตรวจพิเศษสูตินรีเวชกรรม
 
อัตราค่าบริการฝากครรภ์ โดยประมาณ
 
ค่าบริการห้องสูติกรรม
ความรู้สู่ประชาชน
เว็บไซต์|แหล่งข้อมูลที่น่าสนใจ
 
ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย
 
สมาคมมะเร็งนรีเวชไทย
htmlCode

 เข้าถึงข้อมูลการรักษาได้ง่ายขึ้นด้วย...
แอปพลิเคชัน
“BAH Connect“
ดาวน์โหลด
แอปพลิเคชัน
BAH Connect ทาง  • IOS
BAH Connect ทาง Android

สถิติการดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน CLICK

ขอเชิญทุกท่านแสดงความคิดเห็น
ต่อการเข้ารับบริการ
รพ.ภูมิพลอดุลยเดช พอ.

..คลิก..
พบเห็นสัตว์อันตรายโทร 27191 จาก รปภ.และนิรภัยภาคพื้น รพ.ภูมิพลอดุยเดช พอ.

3 โปรแกรม JASMINE, ROSE, ORCHID
ติดต่อสอบถามเพิ่มเติมได้ที่
ห้องตรวจสุขภาพ

โทร 0-2534-7624, 2-7624

ติดต่อสอบถามได้ที่ประชาสัมพันธ์ 0-2534-7000, 0-2534-7312
วันหยุด ให้บริการคลินิกพิเศษ
นอกเวลาราชการ ประจำปี 2567
ดาวน์โหลด---> แอปพลิเคชั่น BAH Connect
บริการส่งยาทางไปรษณีย์
---> ขั้นตอน คลิก
html code 
หน่วยงานรักษาพยาบาล  กองสูตินรีกรรม    ข้อมูลหน่วยงาน  ประวัติ พันธกิจ วิสัยทัศน์  
 

     งานสูตินรีกรรมในระยะแรก ของการแพทย์ทหารอากาศ จะส่งต่อผู้ป่วยไปยังโรงพยาบาลในเขตตัวเมือง และมีการส่งนางพยาบาลผดุงครรภ์ไปช่วยทำคลอดตามบ้านพักในเขตดอนเมือง หรือเขตกองบิน จนเมื่อเปิดโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช มีแผนกสูติกรรม ซึ่งงานส่วนใหญ่เป็นด้านนรีกรรมและการคลอดบุตรที่ผิดปกติ

     ในระยะแรกการักษาพยาบาลด้านสูตินรีกรรมอยู่ในความควบคุมดูแลของ พล.อ.ต.เจือ ปุณโสนี ซึ่งโอนมาจากกองทัพบก และถือเป็นแพทย์ทางสูตินรีกรรมท่านแรกของกองทัพอากาศ ต่อมาใน พ.ศ. 2492 ร.อ.ชลิต จุลโมกข์ โอนย้ายจากกองทัพบก มารับผิดชอบแผนกสูตินรีกรรม แต่ใช้เจ้าหน้าที่และพยาบาลร่วมกับแผนกศัลยกรรมและแผนกตรวจโรค ในยุคนั้นมีการส่งผู้ป่วยที่ไม่สามารถคลอดปกติจากชนบทไกล ๆ เช่น คลอง 12 นครนายก มาทางเรือโดยมีลำคลองทะลุเข้ามาถึงตึกสูติกรรม ด้านหลังโรงพยาบาล

     พ.ศ. 2506 ได้เริ่มมีแพทย์ฝึกหัดปฏิบัติงานในกองสูตินรีกรรม ตั้งแต่ พ.ศ. 2519 แผนกสูตินรีกรรมได้เปลี่ยนเป็นกองสูตินรีกรรม มีผู้ใช้บริการด้านสูติกรรมเพิ่มขึ้นมาก เนื่องจากปริมณฑลของโรงพยาบาลได้กลายเป็นนิคมอุตสาหกรรม และถิ่นที่อยู่อาศัย แต่ รพ.ขาดแคลนแพทย์จากการลาออกไปต่างประเทศ กองทัพอากาศจึงรับแพทย์จัดสรรเข้าปฏิบัติในกองสูตินรีกรรม จำนวน 10 ท่าน กองสูตินรีกรรม ได้ปรับปรุงบริการด้านต่างๆ อย่างมาก มีการใช้เครื่องตรวจที่ทันสมัยมากยิ่งขึ้น อาทิเช่น เครื่อง Fetal Monitoring เครื่อง Ultrasonography เปิดคลินิกเฉพาะทางมะเร็งนรีเวช คลินิกผู้มีบุตรยาก คลินิกวางแผนครอบครัว

     พ.ศ. 2527 ได้รับอนุมัติเป็นสถาบันฝึกอบรมแพทย์เฉพาะทางสูตินรีเวชวิทยา และจัดแบ่งหน่วยงานเป็น หน่วยปริกำเนิด หน่วยวางแผนครอบครัว หน่วยชีววิทยาการเจริญพันธุ์ หน่วยโรคติดเชื้อสูตินรีกรรม และหน่วยมะเร็งนรีเวช


หน่วยชีววิทยาการเจริญพันธุ์ ตู้เตรียมยาเคมีบำบัดแก่ผู้ป่วยมะเร็ง


     พ.ศ. 2537 เปิดหน่วยชีววิทยาการสืบพันธุ์ ได้ให้บริการแช่แข็งตัวอ่อน และธนาคารอสุจิ ก็สามารถให้กำเนิดเด็กหลอดแก้วได้เป็นรายแรก...

 อ่านต่อ...
จำนวนทั้งหมด  1 ย่อหน้า หน้า   [ 1 ]