โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช กรมแพทย์ทหารอากาศ
   Health for Future
สื่อประสมที่เกี่ยวข้อง
เว็บไซ์ืที่เกี่ยวข้อง


กรดยูริก คืออะไร

กรดยูริก มาจากการย่อยสารพิวรีนซึ่งมีอยู่มากในอาหารประเภทสัตว์ปีก เครื่องในสัตว์ ผักกินยอดอย่างกระถินหรือชะอม ซึ่งปรกติเราสามารถกำจัดกรดยูริกได้ทางปัสสาวะ แต่สำหรับบางคนไม่สามารถขับกรดยูริกได้ตามปรกติ และทานอาหารที่มีสารพิวรีนมากเกินไปเมื่อร่างกายขับกรดยูริกออกได้ไม่หมดก็จะไปสะสมอยู่ตามส่วนต่าง ๆ


  • โดยเฉพาะที่บริเวณข้อกระดูก ผนังหลอดเลือดและไต ซึ่งเป็นสาเหตุหลักทำให้เกิดโรคเกาต์ ถ้าเราหลีกเลี่ยงอาหารที่มีพิวรีนสูงก็จะช่วยลดกรดยูริกในร่างกายได้ และให้ทานผลไม้เยอะ ๆ ก็จะช่วยขับกรดยูริกออกมาได้
  • โรคเกาต์จะมีอาการปวด บวมแดง ร้อนบริเวณข้ออย่างฉับพลันทันทีทันใด โดยมักจะเริ่มจากข้อบริเวณโคนนิ้วหัวแม่เท้า แต่ก็สามารถเกิดกับข้ออื่น ๆ ได้ เช่น ข้อเท้า ข้อเข่า ข้อมือ ซึ่งจะเป็น ๆ หายๆ ในระยะแรก โรคเกาต์ที่ไม่ได้รับการรักษาหรือดูแลอย่างถูกต้อง อาการอักเสบจะรุนแรงมากขึ้นทำให้ผู้ป่วยปวดถี่ขึ้นและนานขึ้นจนกลายเป็นโรคข้ออักเสบเรื้อรัง และอาจส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนอื่น ๆ ตามมา เช่น โรคไต นิ่วในทางเดินปัสสาวะ และไตวาย

 

ที่มา: กองเวชศาสตร์ป้องกัน กรมแพทย์ทหารอากาศ
--------------------------------------------------------------------------------------------------

  Hits: 6359 [Rate it.]  

    เนื้อหาในหมวดนี้  
 
 รู้จัก เอทีเค (23/2/2565)
 วิธีการตรวจโควิด-19 ด้วยตนเอง ด้วยชุดทดสอบแอนติเจน ATK (21/2/2565)
 ระดับไขมันในเลือด (8/2/2565)
 การเฝ้าระวังและสังเกตตนเองหากเข้าข่ายสัมผัสเสี่ยงสูงโควิด 19 (4/2/2565)
 ผลกระทบระยะยาวต่อสุขภาพของผู้ที่เคยป่วยเป็นโควิด-19 (21/1/2565)
 คำแนะนำ ผู้ติดเชื้อ COVID-19 กักตัวที่บ้าน (11/1/2565)
 เตรียมพร้อมรักษาผู้ป่วยโควิดเด็ก (11/1/2565)
 ตรวจ ATK (28/12/2564)
 วิธีรับมือ Omicron แบบไม่ประมาท (27/12/2564)
 ทำความรู้จักโควิดสายพันธุ์โอไมครอน (22/12/2564)
จำนวน 394 เนื้อหาทั้งหมด หน้าที่   [ << <  1  2  3  4  5 6  7  8  9  10  >  >>  ... ]  
  เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง  
สื่อประสมที่เกี่ยวข้อง