ข้อมูลหน่วยงาน
 
ประวัติ พันธกิจ วิสัยทัศน์
 
ผู้บริหาร
 
รายนามบุคลากร
 
ติดต่อหน่วยงาน
 
การศึกษาและฝึกอบรม
 
นิสิตแพทย์
 
แพทย์ประจำบ้าน
 
E-learning
 
เกณฑ์การประเมินผลกระบวนการฝึกอบรม
 
วิจัยและวิชาการ
 
ข่าววิจัย และงานประชุมวิชาการ
 
ผลงานวิจัยและวิชาการ
 
บริการประชาชน
 
คำแนะนำก่อนเข้ารับการตรวจรักษา
 
ตารางแพทย์ตรวจรักษาในเวลา
 
ตารางแพทย์ตรวจรักษาคลินิกพิเศษนอกเวลา
 
ศูนย์รักษาความผิดปกติทางการนอน
 
ห้องตรวจการได้ยินและฝึกพูด
 
ความรู้สู่ประชาชน
 
เว็บไซต์|แหล่งข้อมูลที่น่าสนใจ
 
ราชวิทยาลัย โสต ศอ นาสิกแพทย์ แห่งประเทศไทย
htmlCode

 เข้าถึงข้อมูลการรักษาได้ง่ายขึ้นด้วย...
แอปพลิเคชัน
“BAH Connect“
ดาวน์โหลด
แอปพลิเคชัน
BAH Connect ทาง  • IOS
BAH Connect ทาง Android

สถิติการดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน CLICK  

ขอเชิญทุกท่านแสดงความคิดเห็น
ต่อการเข้ารับบริการ
รพ.ภูมิพลอดุลยเดช พอ.

..คลิก..
พบเห็นสัตว์อันตรายโทร 27191 จาก รปภ.และนิรภัยภาคพื้น รพ.ภูมิพลอดุยเดช พอ.

3 โปรแกรม JASMINE, ROSE, ORCHID
ติดต่อสอบถามเพิ่มเติมได้ที่
ห้องตรวจสุขภาพ

โทร 0-2534-7624, 2-7624

ติดต่อสอบถามได้ที่ประชาสัมพันธ์ 0-2534-7000, 0-2534-7312
วันหยุด ให้บริการคลินิกพิเศษ
นอกเวลาราชการ ประจำปี 2567
ดาวน์โหลด---> แอปพลิเคชั่น BAH Connect
บริการส่งยาทางไปรษณีย์
---> ขั้นตอน คลิก
html code 
 
  • ประวัติ พันธกิจ วิสัยทัศน์
  •  


    ประวัติ กองโสต ศอนาสิก
    ในปี พ.. 2483 กองเสนารักษ์ทหารอากาศ ได้มีการแยกงานด้าน หู คอ จมูก ออกมา ..สดับ ธีระบุตร ซึ่งได้รับทุนของกองทัพอากาศไปศึกษาด้าน หู คอ จมูก ณ ประเทศสหรัฐอเมริกา กลับมาในปี พ..2493 ซึ่งถือได้ว่าท่านอาจารย์สดับ เป็นบิดาหรือผู้ที่นำวิทยาการสมัยใหม่ทาง หู คอ จมูก เข้ามาสู่ รพ.ภูมิพลอดุลยเดช กองทัพอากาศและสู่ประเทศไทยเป็นคนแรกและเป็นผู้ที่นำเครื่องมือตรวจวัดการได้ยิน (audiometer) เข้ามาใช้ในปี พ..2494 เป็นเครื่องแรกในประเทศไทย..

         ในปี พ.. 2495 โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช ได้มีการจัดส่วนราชการใหม่ตามอัตรา ทอ.2495 งานด้าน หู คอ จมูก จึงได้ขยายเป็นแผนก โดยในตอนนั้นยังรวมกับงานจักษุ เรียกว่า แผนกจักษุ โสต ศอ นาสิกกรรม หลังจากนั้น ในปี 2506 ได้แยกเป็น “แผนกหู คอ จมูก” ส่วนใหญ่ทำการผ่าตัดทอนซิล เจาะล้างไซนัส และผ่าตัดไซนัส ส่วนโรคอื่น ๆ จะรักษาทางยาเป็นส่วนใหญ่


         ในปี พ..2510 ..สมโมทย์ โยธะพันธุ์ เข้าอบรมแพทย์เฉพาะทางของโสต ศอ นาสิก เป็นรุ่นที่ 2 ที่ รพ.จุฬาลงกรณ์ และ รพ.พระมงกุฎเกล้า ทำให้สามารถให้การรักษาที่กว้างขวางมากขึ้น เช่น ผ่าตัดหู และโพรงกระดูกมาสตอยด์ และในปี พ..2512 ..ทายาท สุขบำรุง กลับจากการศึกษาอบรมทาง โสต ศอ นาสิก จากประเทศสหรัฐอเมริกา และก็ได้มาดำรงตำแหน่งหัวหน้าแผนก และนับเป็นการเริ่มต้นของการพัฒนางานของแผนกโสต ศอ นาสิก อย่างแท้จริง เพราะได้เริ่มต้นขยายงานให้ครอบคลุมเป็นระบบสมัยใหม่ โดยแบ่งงานออกเป็น 4 สาขา คือ 1)โรคทางหู คอ จมูกทั่วไป 2.) รักษาการบาดเจ็บที่ใบหน้าและศีรษะ 3.) ผู้ป่วยก้อนทูมของหน้าและคอ 4.) โรคที่เกี่ยวกับความผิดปกติของใบหน้าและศีรษะ รวมทั้งศัลยกรรมตกแต่ง นอกจากนี้ก็เริ่มมีแพทย์ฝึกหัดหมุนเวียนมาช่วยงานของแผนกในบางโอกาส ในปี พ.ศ.2519 ได้เลื่อนฐานะเป็นกองโสต ศอ นาสิกกรรม ..ทายาท สุขบำรุง เป็นหัวหน้ากอง

         ในปี 2523 ได้เปิดหน่วยโสต สัมผัสและการพูด เนื่องจากมีนักแก้ไขการได้ยินมาปฏิบัติงานปี พ.ศ. 2524 เปิดบริการแก้ไขการพูดที่ผิดปกติ โดยมีนักแก้ไขการพูด ปี 2526 ได้นำเครื่องมือวัดการทำงานของหูชั้นกลางมาใช้ ในปี 2529 ได้มีการนำคาร์บอนไดออกไซด์ เลเซอร์มาใช้ในการรักษา ในปี 2532ได้เปิดการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน สาขาโสต นาสิก ลาริงซ์ เป็นครั้งแรก
     
     
         จนถึงปี 2536 มีการปรับอัตราหัวหน้ากองยศ น.. เป็นผู้อำนวยการกอง ยศ น..พิเศษ โดย ...ทรงพร วานิชเสนี ได้เป็น ผอ.กองคนแรก ในปี 2537 ได้นำเครื่องมือที่ใช้ในการฝึกพูด และฟังแบบกลุ่มมาบริการผู้ป่วย นำเครื่องมือและวิธีการผ่าตัดระบบไมโครในช่องจมูกมาใช้ครั้งแรก มีการนำเครื่องประเมินและวิเคราะห์เครื่องช่วยฟัง และเครื่องตรวจวัดความต้านทาน และการไหลเวียนของอากาศในโพรงจมูกมาใช้ ในปี พ.ศ. 2538 และนำเครื่องตรวจการได้ยินระดับก้านสมองและสมองมาใช้ มีการพัฒนาการรักษากระดูกหัก และการบาดเจ็บบริเวณใบหน้า โดยใช้ไททาเนียมเพลทมาเสริมจากระบบเดิมในปี พ.ศ. 2539 และ ได้นำ เคทีพีเลเซอร์ (KTP Laser)มาใช้ และเครื่องตรวจวัดการทำงานของหูชั้นในมาใช้ในปี พ.ศ. 2540 ..
     

    <<- BACK